สมาชิกผู้ซื้อ
|
ร้านค้า
สร้างอาชีพชุมชน ส่งเสริมวัฒนธรรม มรดกไทย มีอะไรมากกว่าที่คิด
สินค้าตามภาค
ภาคกลาง
กรุงเทพมหานคร
สมุทรปราการ
นนทบุรี
ปทุมธานี
พระนครศรีอยุธยา
อ่างทอง
ลพบุรี
สิงห์บุรี
ชัยนาท
สระบุรี
ชลบุรี
ระยอง
จันทบุรี
ตราด
ฉะเชิงเทรา
ปราจีนบุรี
นครนายก
สระแก้ว
ราชบุรี
กาญจนบุรี
สุพรรณบุรี
นครปฐม
สมุทรสาคร
สมุทรสงคราม
เพชรบุรี
ประจวบคีรีขันธ์
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
นครราชสีมา
บุรีรัมย์
สุรินทร์
ศรีสะเกษ
อุบลราชธานี
ยโสธร
ชัยภูมิ
อำนาจเจริญ
หนองบัวลำภู
ขอนแก่น
อุดรธานี
เลย
หนองคาย
มหาสารคาม
ร้อยเอ็ด
กาฬสินธุ์
สกลนคร
นครพนม
มุกดาหาร
บึงกาฬ
ภาคใต้
นครศรีธรรมราช
กระบี่
พังงา
ภูเก็ต
สุราษฎร์ธานี
ระนอง
ชุมพร
สงขลา
สตูล
ตรัง
พัทลุง
ปัตตานี
ยะลา
นราธิวาส
ภาคเหนือ
เชียงใหม่
ลำพูน
ลำปาง
อุตรดิตถ์
แพร่
น่าน
พะเยา
เชียงราย
แม่ฮ่องสอน
นครสวรรค์
อุทัยธานี
กำแพงเพชร
ตาก
สุโขทัย
พิษณุโลก
พิจิตร
เพชรบูรณ์
สินค้าตามหมวด
ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมไทย
ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า (132)
ของใช้ตกแต่ง (218)
เครื่องประดับ (28)
อาหาร (3)
ต้นแบบผลิตภัณฑ์จากมรดกทางวัฒนธรรม
ช่างสิบหมู่ (422)
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ (218)
สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ (12)
อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ (4)
ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ หรือท่องเที่ยว
หัตถกรรม (61)
อาหาร (30)
ผ้า/เครื่องแต่งกาย (37)
งานทัศนศิลป์ (6)
ศิลปะการแสดง (9)
ท่องเที่ยว (26)
ผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาในสาขาต่างๆ
งานวิจิตรศิลป์ (4)
งานประยุกต์ศิลป์ (11)
บทความ
ข่าวสารประชาสัมพันธ์
|
ช่วยหลือ
|
ติดต่อเรา
[
ดูรายการสินค้า
]
บทความ
ค้นหา
บทความทั่วไป
บทความการเรียนรู้
บทความทั่วไป
บทความทั่วไป (2)
บทความการเรียนรู้
ผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมไทย
ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า (132)
ของใช้ตกแต่ง (205)
เครื่องประดับ (28)
อาหาร (3)
ผลิตภัณฑ์ หรือบริการ หรือท่องเที่ยว
หัตถกรรม (2)
ผ้า/เครื่องแต่งกาย (2)
ศิลปะการแสดง (1)
ผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาในสาขาต่างๆ
งานวิจิตรศิลป์ (1)
บทความการเรียนรู้ : ทุกหมวด
1 เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ หางหงส์ธงตะขาบ
(ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า)
ชุมชนวัดบ่อทองเป็นชุมชนชาวมอญมีวัฒนธรรมประเพณีที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน โดยเฉพาะการทำธงตะขาบ ซึ่งชาวมอญมีความเชื่อ ดังนี้ ในสมัยหนึ่งพระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงอาศัยอยู่ในเมืองสาวัตถีเสด็จประทับอยู่ใน พระวิหารเชตวัน ในกาลครั้งนั้นพระเจ้าปเสนทิโกศลได้ทูลถามพระพุทธเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ ผู้เจริญอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย ผู้ยินดีในสัมมาจาคะสละเทวัตถุสร้างเสาและธงบูชาพระพุทธเจ้า “อานิสงส์ชนิดไหนจักมีแก่เขาในอนาคตกาลเล่า” พระพุทธเจ้าจึงได้ตรัสถามพระเจ้าปเสทิโกศลว่า ดูกรมหาบพิตร เหตุไรมหาบพิตรจึงตรัสเช่นนั้นเล่า เพราะว่าอุบาสกอุบาสิกาคนใดคนหนึ่งก็ตาม หากได้ตั้งเจตนาสร้างเสาและธง ผลานิสงส์ก็จะมีแก่เขาอย่างมหาศาล พระพุทธองค์ได้ตรัสต่ออีกว่า ดูกรมหาบพิตร ในชมพูทวีปนี้พระวิปัสสีพุทธเจ้าได้ทรงปรินิพพานผ่านมาแล้วประมาณ 100 ปีเศษและมีกษัตริย์องค์หนึ่งทรงปกครองเมืองชื่อ กาลวดี ในกาลครั้งนั้น มีชายยากจนคนหนึ่ง ชื่อกตุมพิกะ ภรรยาของเขา ชื่อ ภาวดี ครองชีวิตอยู่ด้วยกัน วันหนึ่งเขาได้เข้าไปยังป่าแห่งหนึ่งได้พบต้นไม้ต้นหนึ่งซึ่งมีลำต้นตรงดีมากเขาคิดว่า “ต้นไม้นี้ถ้าเอามาทำเสาธงจะเยี่ยมมาก” จึงได้ทำเครื่องหมายสังเกตไว้ที่ต้นไม้นั้น แล้วกลับไปยังบ้านของตน ภายหลัง วันหนึ่งเขาได้เทียมเกวียนด้วยวัวแล้วเข้าไปยังป่าตัดต้นไม้ที่ตนทำเครื่องหมายไว้นั้น ตัดแล้วแบกขึ้นเกวียนนำกลับมาไปเก็บไว้ภายในหมู่บ้านเขาได้ถากไม้สำหรับทำเสานั้นยังไม่ทันเรียบร้อยดีโรคชนิดหนึ่งของเขาเกิดกำเริบขึ้นในเวลาประมาณเที่ยงคืนเขาได้ถึงแก่ความตาย ด้วยเหตุที่เขามีศรัทธาเลื่อมใสในกุศลธรรมจึงได้ไปเกิดในสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ สถิตอยู่ในประสาททองสูงประมาณ 12 โยชน์ มีนางอัปสรรค์ประมาณ 1,000 หนึ่งเป็นบริวารห้อมล้อมฯต่อมามีชายหนุ่มอื่นอีกคนหนึ่งได้พบไม้ที่ชายคนแรกถากไว้นั้นคิดว่า “ไม้สำหรับทำเสาธงนี้ยังถากไม่เรียบร้อยดี เราจะถากให้เรียบร้อยเอง” จึงได้ทำการถางเสาต้นนั้นจนเสร็จ แล้วเขาก็ได้ถึงแก่กรรม พอละขันธ์แล้วก็ไปบังเกิดในปรโลกบนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ สถิตอยู่ปราสาททองสูง 12 โยชน์ มีนางอัปสรรค์พันหนึ่งเป็นบริวารห้อมล้อมเช่นกัน ส่วนผู้คนทั้งหลายที่ช่วยเขาถากต้นไม้นั้นก็ได้ไปเกิดในสวรรคเช่นเดียวกัน ต่อมามีชายหนุ่มอื่นอีกคนหนึ่ง ได้เห็นเสาต้นนั้นเข้า ซึ่งได้ถาก ไส และขัด เรียบร้อยแล้ว เกิดความศรัทธาจึงได้ซื้อทองมาปิดที่เสาธงนั้น เสร็จแล้วก็ได้ยกเสาธงตั้งขึ้น รัศมีของเสาธงซึ่งเกิดจากทองเหมือนกับดุ้นฟืนที่ติดไฟแดง ๆ ประดับอยู่ที่เสาธงนั้น พ่อค้าประมาณ 500 คน มาพบเสาธงนั้นก็ได้ช่วยทำส่วนประกอบของธง บางคนก็ทำเกล็ดธงสำหรับ ประดับธง บางคนก็ทำกรอบโครงธงที่ไขว่ไปมาเป็นตาหมากรุก บางคนก็ทำไม้ขั้นสำหรับติดเกล็ดธง บางคนก็เย็บบางคนก็ผูกเชือก ทุกคนพร้อมใจทำด้วยความเต็มใจ เสร็จแล้วก็ได้ฉลองความสำเร็จของเสาธงอย่างยิ่งใหญ่ พ่อค้าทั้ง 500 คนนั้นได้ประกอบอาชีพค้าขายตลอดชีวิต และถึงแก่กรรมในที่สุด ทำลายอัตตภาพแล้วไปเกิดในสวรรค์ มีนางอัปสรสวรรค์หมื่นหนึ่งเป็นบริวาร สถิตอยู่ในปราสาททองสูง 30 โยชน์เกิดเป็นพี่น้องกัน ได้เสวยทิพยสมบัติอย่างรื่นรมย์ยิ่งนัก ต่อมาก็เคลื่อนจากสวรรค์ดาวดึงส์มาบังเกิดในเมืองพาราณสีเป็นพี่น้องกันอีก ทุกคนได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินปกครองเมืองพาราณสีในแต่ละ หัวเมือง มีนางสนมห้าหมื่นคนเป็นบริวารรื่นรมย์อยู่ในปราสาทพร้อมทั้งเสียงดนตรีบรรเลงขับกล่อมและนางฟ้อนทั้งหลาย ทุกพระองค์ต่างก็มียานพาหนะช้าง ม้า ประมาณ 84,000 ตัว สระบ่อน้ำและอุทยาน 80,000 ที่ ได้เสวยสมบัติในเมืองพาราณสีนั้น รุ่งเรืองไปทรัพย์สิ่งของ แก้ว แหวน เงิน ทอง อย่างสุขกายสบายใจแล้วก็ตายไปเกิดในเมืองสวรรค์ เคลื่อนจากสวรรค์ก็มาเกิดเสวยสุขสมบัติในเมืองมนุษย์ จากเมืองมนุษย์ก็กลับไปยังเมืองสวรรค์อีก ท่องเทียวไปมาระหว่างเมืองมนุษย์กับเมืองสวรรค์ จนกระทั่งถึงพระพุทธเจ้าพระองค์นี้ พวกเขาได้สร้างเสาธงถวาย ครั้นเคลื่อนจากสวรรค์ได้ไปเกิดในตระกูลเศรษฐีเป็นพี่น้องกันอีก เมื่อพระพุทธองค์ได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว เหล่ามหาชนต่างก็พากันสมาทานศีล 5 ศีลอุโบสถ บำเพ็ญกุศลธรรมกัน และด้วยความระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า พระธรรมเจ้า และสงฆเจ้า พวกเขาต่างก็แต่งตัวประดับองค์ ถือดอกไม้ ธูปเทียน แล้วพากันไปฟังธรรมของพระพุทธเจ้า กล่าวถึงเหล่าเศรษฐีพี่น้อง เห็นมหาชนพากันเดินไปจึงถามว่า “พวกท่านจะไปไหนกัน” เหล่ามหาชนจึงตอบว่า “พวกเราจะไปฟังธรรม” เศรษฐีพีน้องเหล่านั้นได้ยินเช่นนั้นก็เกิดปีติปลาบปลื้มใจ จึงพูดว่า หากเป็นเช่นนั้น พวกเราก็จะไปฟังธรรมเหมือนกัน จึงได้พากันไปยังที่ประทับของพระพุทธเจ้าซึ่งประทับอยู่ในพระ วิหารเชตวัน ได้ฟังธรรมของพระพุทธองค์ซึ่งได้แสดงอานิสงส์ของการถวายธงว่า “ดูกรอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย บุคคลใดบุคคลหนึ่งไม่ว่าจะเป็น คนทุกข์ยากก็ตาม คนเข็ญใจก็ตาม พระราชาก็ตาม พระมเหสีก็ตาม พระสงฆ์ก็ตาม บัณฑิตก็ตาม คนพาลก็ตาม หากได้สร้างเสาธงถวายพระพุทธเจ้าแล้ว ผู้นั้นก็จะไม่ต้องไปอบายภูมิ 4 จะได้ไปเกิดในเมืองใหญ่ 14 เมือง ได้รับความสุขสบาย และจะเกิดในสองตระกูลคือ ตระกูลกษัตริย์กับตระกูลพราหมณ์ ซึ่งเป็นผู้ที่มีทรัพย์สมบัติมาก จะไม่ไปเกิดยังตระกูลที่เลวอย่างแน่นอน” ต่อจากนั้นพระพุทธองค์ก็ได้ ตรัสพระคาถา ใจความของพระคาถานั้นดังนี้ อุบาสกอุบาสิกาที่ได้ตั้งเจตนาสร้างเสาธงถวายพระพุทธเจ้า จะได้รับอานิสงส์ดังนี้คือเป็นผู้มีกำลังแข็งแรง มีเดชมากมียสสมบัติ มีทรัพย์สมบัติ มีช้างม้าวัวควาย มีข้าทาสชายหญิง เงินทอง ข้าวเปลือก ข้าวสาร จตุรงคเสนา 4 เหล่าคือ พลช้างพลม้า พลรถ และพลเดินเท้าได้เป็นเทวดาเหนือ กว่าเทวดา หากเป็นพระราชาก็จะได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์ได้ครอบครองเกาะใหญ่ทั้ง 4 และเกาะ น้อยพันเกาะ มีเมืองขึ้นนับเป็นอสังไขย” อนึ่งอานิสงส์ที่จะเกิดแก่ผู้ถวายเสาธงดังนี้ ถ้าธงสะบัดไปทางทิศตะวันออก ผู้นั้นจะได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์ สะบัดไปในระหว่าง ๆ นั้น ๆ ผู้นั้นจะมีบริวารมาก สะบัดไปทางทิศอาคเนย์ ผู้นั้นจะได้เป็นมหาเศรษฐี สะบัดไปทางทิศใต้ผู้นั้นจะได้เป็นท้าวจาตุมมหาราช สะบัดไปทางทิศหรดี ผู้นั้นจะได้เป็นพระเจ้าแผ่นดินในประเทศราช สะบัดไปทางทิศตะวันตกผู้นั้นจะได้เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า สะบัดไปทางทิศพายัพ ผู้นั้นจะเป็นผู้เชี่ยวชาญในพระไตรปิฎก สะบัดไปทางทิศเหนือ ผู้นั้นจะได้เป็นมหาพรหม สะบัดไปทางทิศอิสาน ผู้นั้นจะได้เป็นพระอินทร์ สะบัดไปทางทิศเบื้องล่าง ผู้นั้นจะได้เป็นพระยานาคราช สะบัดไปทางทิศเบื้องบนในอากาศผู้นั้นจะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า และในศาสนาของพระอริยเมตไตรผู้เป็นจอมโลกทั้ง 3 โน้น หากผู้นั้นได้ทันเห็นพระองค์แล้วตั้ง ความปรารถนาว่าขอให้ได้เป็นพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระสาวกก็จะสมความปรารถนา ทุกประการ ในที่สุดแห่งการแสดงธรรมของพระพุทธเจ้า มหาชนที่ได้ฟังธรรมของพระองค์ก็ได้บรรลุพระโสดาบัน และมรรค 8 เป็นพระอนาคามี และพระอรหันต์ สิ้นทุกคน..... (ตำนานเสาธง (ชัย) มอญ พระมหาจรูญ ญาณจารี แปลเรียบเรียงจากใบลานมอญ)
14/09/2561 13:55:58
อ่านต่อ...
2 เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ ผ้าคลุมไหล่ย้อมสีใบสักทอง
(ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า)
สถานีรถไฟแม่พวก หมู่ 5 ต.ห้วยไร่ อ.เด่นชัย จ.แพร่ จะมีพื้นที่ปลูกไม้สักเป็นป่าปลูกหรือสวนป่าไม้สักแห่งแรกของประเทศ โดยทางหมู่บ้านจัดให้เป็นเส้นทางท่องเที่ยวชมดอกกระเจียวและชมสมุนไพรหายาก และป่าสักที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของจังหวัดแพร่ นายน้อย เทียนทอง กล่าวว่า ในพื้นที่แห่งนี้ เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟบ้านแม่พวก ซึ่งเป็นสถานีรถไฟเก่าแก่ มาตั้งแต่ครั้งสมัยราชกาลที่ 5 และในปัจจุบันยังคงมีลักษณะอาคารแบบดั้งเดิม หมู่บ้านแห่งนี้จึงได้บริหารจัดการสถานที่แห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ “สถานีรถไฟแม่พวก” ซึ่งชุมชนมีส่วนร่วมกับการรถไฟร่วมกันอนุรักษ์ไปเป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชน สถานีแห่งนี้เคยเป็นสถานีปลายทางของทางรถไฟสายเหนือ สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 โดยพระพันปีหลวง พระราชินีในรัชกาลที่ 5 ก็เคยเสด็จทอดพระเนตรป่าไม้สักบริเวณนี้ในอดีตที่ผ่านมา ชาวบ้านได้รวบรวมประวัติความเป็นมาและความเป็นอยู่ตามวิถีชุมชนไว้ที่สถานีรถไฟแห่งนี้อย่างน่าสนใจที่สำคัญเป็นสถานที่แห่งเดียวที่เป็ฌนป่าสัก ที่ปลูกแห่งแรกของประเทศไทย จึงมีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ และเป็นที่มาของผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม คือ ผ้าย้อมใบสักทอง ที่ชาวบ้านจะนำใบสักทองที่ร่วมหล้นลงมาจากป่าสักทองอายุกว่า 104 ปีแห่งนี้ มาทำเป็นสีย้อมผ้า ซึ่งความพิเศษคือ การนำใบสักทองที่ร่วงหล่นลงมาจากป้าสักทอง ในแต่ละครั้ง แต่ละวัน เมื่อนำใบสักทองมาหมัก จะทำให้ได้สีย้อมผ้าที่เป็นสีของใบสักทองที่แตกต่างกันทุกวัน ไม่เหมือนกันแม้แต่ครั้งเดียว การหมักย้อมจึงให้สีสันที่แตกต่างกันตามคุณสมบัติของใบสักทองที่มีการเปลี่ยนแปลง มีความเป็นเอกลักษรืเฉพาะวัน เดือน ปี เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดล้อม สภาพอากาศ ส่งผลให้เกิดสีสันของการหมักที่แตกต่างกันทุกวัน
26/12/2561 16:16:09
อ่านต่อ...
3 เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ กางเกงย้อมสีใบสักทอง
(ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า)
สถานีรถไฟแม่พวก หมู่ 5 ต.ห้วยไร่ อ.เด่นชัย จ.แพร่ จะมีพื้นที่ปลูกไม้สักเป็นป่าปลูกหรือสวนป่าไม้สักแห่งแรกของประเทศ โดยทางหมู่บ้านจัดให้เป็นเส้นทางท่องเที่ยวชมดอกกระเจียวและชมสมุนไพรหายาก และป่าสักที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของจังหวัดแพร่ นายน้อย เทียนทอง กล่าวว่า ในพื้นที่แห่งนี้ เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟบ้านแม่พวก ซึ่งเป็นสถานีรถไฟเก่าแก่ มาตั้งแต่ครั้งสมัยราชกาลที่ 5 และในปัจจุบันยังคงมีลักษณะอาคารแบบดั้งเดิม หมู่บ้านแห่งนี้จึงได้บริหารจัดการสถานที่แห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ “สถานีรถไฟแม่พวก” ซึ่งชุมชนมีส่วนร่วมกับการรถไฟร่วมกันอนุรักษ์ไปเป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชน สถานีแห่งนี้เคยเป็นสถานีปลายทางของทางรถไฟสายเหนือ สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 โดยพระพันปีหลวง พระราชินีในรัชกาลที่ 5 ก็เคยเสด็จทอดพระเนตรป่าไม้สักบริเวณนี้ในอดีตที่ผ่านมา ชาวบ้านได้รวบรวมประวัติความเป็นมาและความเป็นอยู่ตามวิถีชุมชนไว้ที่สถานีรถไฟแห่งนี้อย่างน่าสนใจที่สำคัญเป็นสถานที่แห่งเดียวที่เป็ฌนป่าสัก ที่ปลูกแห่งแรกของประเทศไทย จึงมีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ และเป็นที่มาของผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม คือ ผ้าย้อมใบสักทอง ที่ชาวบ้านจะนำใบสักทองที่ร่วมหล้นลงมาจากป่าสักทองอายุกว่า 104 ปีแห่งนี้ มาทำเป็นสีย้อมผ้า ซึ่งความพิเศษคือ การนำใบสักทองที่ร่วงหล่นลงมาจากป้าสักทอง ในแต่ละครั้ง แต่ละวัน เมื่อนำใบสักทองมาหมัก จะทำให้ได้สีย้อมผ้าที่เป็นสีของใบสักทองที่แตกต่างกันทุกวัน ไม่เหมือนกันแม้แต่ครั้งเดียว การหมักย้อมจึงให้สีสันที่แตกต่างกันตามคุณสมบัติของใบสักทองที่มีการเปลี่ยนแปลง มีความเป็นเอกลักษรืเฉพาะวัน เดือน ปี เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดล้อม สภาพอากาศ ส่งผลให้เกิดสีสันของการหมักที่แตกต่างกันทุกวัน
26/12/2561 16:13:57
อ่านต่อ...
4 เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ กางเกงย้อมสีใบสักทอง
(ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า)
สถานีรถไฟแม่พวก หมู่ 5 ต.ห้วยไร่ อ.เด่นชัย จ.แพร่ จะมีพื้นที่ปลูกไม้สักเป็นป่าปลูกหรือสวนป่าไม้สักแห่งแรกของประเทศ โดยทางหมู่บ้านจัดให้เป็นเส้นทางท่องเที่ยวชมดอกกระเจียวและชมสมุนไพรหายาก และป่าสักที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของจังหวัดแพร่ นายน้อย เทียนทอง กล่าวว่า ในพื้นที่แห่งนี้ เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟบ้านแม่พวก ซึ่งเป็นสถานีรถไฟเก่าแก่ มาตั้งแต่ครั้งสมัยราชกาลที่ 5 และในปัจจุบันยังคงมีลักษณะอาคารแบบดั้งเดิม หมู่บ้านแห่งนี้จึงได้บริหารจัดการสถานที่แห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ “สถานีรถไฟแม่พวก” ซึ่งชุมชนมีส่วนร่วมกับการรถไฟร่วมกันอนุรักษ์ไปเป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชน สถานีแห่งนี้เคยเป็นสถานีปลายทางของทางรถไฟสายเหนือ สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 โดยพระพันปีหลวง พระราชินีในรัชกาลที่ 5 ก็เคยเสด็จทอดพระเนตรป่าไม้สักบริเวณนี้ในอดีตที่ผ่านมา ชาวบ้านได้รวบรวมประวัติความเป็นมาและความเป็นอยู่ตามวิถีชุมชนไว้ที่สถานีรถไฟแห่งนี้อย่างน่าสนใจที่สำคัญเป็นสถานที่แห่งเดียวที่เป็ฌนป่าสัก ที่ปลูกแห่งแรกของประเทศไทย จึงมีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ และเป็นที่มาของผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม คือ ผ้าย้อมใบสักทอง ที่ชาวบ้านจะนำใบสักทองที่ร่วมหล้นลงมาจากป่าสักทองอายุกว่า 104 ปีแห่งนี้ มาทำเป็นสีย้อมผ้า ซึ่งความพิเศษคือ การนำใบสักทองที่ร่วงหล่นลงมาจากป้าสักทอง ในแต่ละครั้ง แต่ละวัน เมื่อนำใบสักทองมาหมัก จะทำให้ได้สีย้อมผ้าที่เป็นสีของใบสักทองที่แตกต่างกันทุกวัน ไม่เหมือนกันแม้แต่ครั้งเดียว การหมักย้อมจึงให้สีสันที่แตกต่างกันตามคุณสมบัติของใบสักทองที่มีการเปลี่ยนแปลง มีความเป็นเอกลักษรืเฉพาะวัน เดือน ปี เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดล้อม สภาพอากาศ ส่งผลให้เกิดสีสันของการหมักที่แตกต่างกันทุกวัน
26/12/2561 16:12:38
อ่านต่อ...
5 เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ กางเกงย้อมสีใบสักทอง
(ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า)
สถานีรถไฟแม่พวก หมู่ 5 ต.ห้วยไร่ อ.เด่นชัย จ.แพร่ จะมีพื้นที่ปลูกไม้สักเป็นป่าปลูกหรือสวนป่าไม้สักแห่งแรกของประเทศ โดยทางหมู่บ้านจัดให้เป็นเส้นทางท่องเที่ยวชมดอกกระเจียวและชมสมุนไพรหายาก และป่าสักที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของจังหวัดแพร่ นายน้อย เทียนทอง กล่าวว่า ในพื้นที่แห่งนี้ เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟบ้านแม่พวก ซึ่งเป็นสถานีรถไฟเก่าแก่ มาตั้งแต่ครั้งสมัยราชกาลที่ 5 และในปัจจุบันยังคงมีลักษณะอาคารแบบดั้งเดิม หมู่บ้านแห่งนี้จึงได้บริหารจัดการสถานที่แห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ “สถานีรถไฟแม่พวก” ซึ่งชุมชนมีส่วนร่วมกับการรถไฟร่วมกันอนุรักษ์ไปเป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชน สถานีแห่งนี้เคยเป็นสถานีปลายทางของทางรถไฟสายเหนือ สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 โดยพระพันปีหลวง พระราชินีในรัชกาลที่ 5 ก็เคยเสด็จทอดพระเนตรป่าไม้สักบริเวณนี้ในอดีตที่ผ่านมา ชาวบ้านได้รวบรวมประวัติความเป็นมาและความเป็นอยู่ตามวิถีชุมชนไว้ที่สถานีรถไฟแห่งนี้อย่างน่าสนใจที่สำคัญเป็นสถานที่แห่งเดียวที่เป็ฌนป่าสัก ที่ปลูกแห่งแรกของประเทศไทย จึงมีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ และเป็นที่มาของผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม คือ ผ้าย้อมใบสักทอง ที่ชาวบ้านจะนำใบสักทองที่ร่วมหล้นลงมาจากป่าสักทองอายุกว่า 104 ปีแห่งนี้ มาทำเป็นสีย้อมผ้า ซึ่งความพิเศษคือ การนำใบสักทองที่ร่วงหล่นลงมาจากป้าสักทอง ในแต่ละครั้ง แต่ละวัน เมื่อนำใบสักทองมาหมัก จะทำให้ได้สีย้อมผ้าที่เป็นสีของใบสักทองที่แตกต่างกันทุกวัน ไม่เหมือนกันแม้แต่ครั้งเดียว การหมักย้อมจึงให้สีสันที่แตกต่างกันตามคุณสมบัติของใบสักทองที่มีการเปลี่ยนแปลง มีความเป็นเอกลักษรืเฉพาะวัน เดือน ปี เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดล้อม สภาพอากาศ ส่งผลให้เกิดสีสันของการหมักที่แตกต่างกันทุกวัน
26/12/2561 16:11:17
อ่านต่อ...
6 เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ เสื้อย้อมสีใบสักทอง
(ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า)
สถานีรถไฟแม่พวก หมู่ 5 ต.ห้วยไร่ อ.เด่นชัย จ.แพร่ จะมีพื้นที่ปลูกไม้สักเป็นป่าปลูกหรือสวนป่าไม้สักแห่งแรกของประเทศ โดยทางหมู่บ้านจัดให้เป็นเส้นทางท่องเที่ยวชมดอกกระเจียวและชมสมุนไพรหายาก และป่าสักที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของจังหวัดแพร่ นายน้อย เทียนทอง กล่าวว่า ในพื้นที่แห่งนี้ เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟบ้านแม่พวก ซึ่งเป็นสถานีรถไฟเก่าแก่ มาตั้งแต่ครั้งสมัยราชกาลที่ 5 และในปัจจุบันยังคงมีลักษณะอาคารแบบดั้งเดิม หมู่บ้านแห่งนี้จึงได้บริหารจัดการสถานที่แห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ “สถานีรถไฟแม่พวก” ซึ่งชุมชนมีส่วนร่วมกับการรถไฟร่วมกันอนุรักษ์ไปเป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชน สถานีแห่งนี้เคยเป็นสถานีปลายทางของทางรถไฟสายเหนือ สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 โดยพระพันปีหลวง พระราชินีในรัชกาลที่ 5 ก็เคยเสด็จทอดพระเนตรป่าไม้สักบริเวณนี้ในอดีตที่ผ่านมา ชาวบ้านได้รวบรวมประวัติความเป็นมาและความเป็นอยู่ตามวิถีชุมชนไว้ที่สถานีรถไฟแห่งนี้อย่างน่าสนใจที่สำคัญเป็นสถานที่แห่งเดียวที่เป็ฌนป่าสัก ที่ปลูกแห่งแรกของประเทศไทย จึงมีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ และเป็นที่มาของผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม คือ ผ้าย้อมใบสักทอง ที่ชาวบ้านจะนำใบสักทองที่ร่วมหล้นลงมาจากป่าสักทองอายุกว่า 104 ปีแห่งนี้ มาทำเป็นสีย้อมผ้า ซึ่งความพิเศษคือ การนำใบสักทองที่ร่วงหล่นลงมาจากป้าสักทอง ในแต่ละครั้ง แต่ละวัน เมื่อนำใบสักทองมาหมัก จะทำให้ได้สีย้อมผ้าที่เป็นสีของใบสักทองที่แตกต่างกันทุกวัน ไม่เหมือนกันแม้แต่ครั้งเดียว การหมักย้อมจึงให้สีสันที่แตกต่างกันตามคุณสมบัติของใบสักทองที่มีการเปลี่ยนแปลง มีความเป็นเอกลักษรืเฉพาะวัน เดือน ปี เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดล้อม สภาพอากาศ ส่งผลให้เกิดสีสันของการหมักที่แตกต่างกันทุกวัน
26/12/2561 16:06:52
อ่านต่อ...
7 เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ เสื้อคลุมย้อมสีใบสักทอง
(ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า)
สถานีรถไฟแม่พวก หมู่ 5 ต.ห้วยไร่ อ.เด่นชัย จ.แพร่ จะมีพื้นที่ปลูกไม้สักเป็นป่าปลูกหรือสวนป่าไม้สักแห่งแรกของประเทศ โดยทางหมู่บ้านจัดให้เป็นเส้นทางท่องเที่ยวชมดอกกระเจียวและชมสมุนไพรหายาก และป่าสักที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของจังหวัดแพร่ นายน้อย เทียนทอง กล่าวว่า ในพื้นที่แห่งนี้ เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟบ้านแม่พวก ซึ่งเป็นสถานีรถไฟเก่าแก่ มาตั้งแต่ครั้งสมัยราชกาลที่ 5 และในปัจจุบันยังคงมีลักษณะอาคารแบบดั้งเดิม หมู่บ้านแห่งนี้จึงได้บริหารจัดการสถานที่แห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ “สถานีรถไฟแม่พวก” ซึ่งชุมชนมีส่วนร่วมกับการรถไฟร่วมกันอนุรักษ์ไปเป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชน สถานีแห่งนี้เคยเป็นสถานีปลายทางของทางรถไฟสายเหนือ สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 โดยพระพันปีหลวง พระราชินีในรัชกาลที่ 5 ก็เคยเสด็จทอดพระเนตรป่าไม้สักบริเวณนี้ในอดีตที่ผ่านมา ชาวบ้านได้รวบรวมประวัติความเป็นมาและความเป็นอยู่ตามวิถีชุมชนไว้ที่สถานีรถไฟแห่งนี้อย่างน่าสนใจที่สำคัญเป็นสถานที่แห่งเดียวที่เป็ฌนป่าสัก ที่ปลูกแห่งแรกของประเทศไทย จึงมีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ และเป็นที่มาของผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม คือ ผ้าย้อมใบสักทอง ที่ชาวบ้านจะนำใบสักทองที่ร่วมหล้นลงมาจากป่าสักทองอายุกว่า 104 ปีแห่งนี้ มาทำเป็นสีย้อมผ้า ซึ่งความพิเศษคือ การนำใบสักทองที่ร่วงหล่นลงมาจากป้าสักทอง ในแต่ละครั้ง แต่ละวัน เมื่อนำใบสักทองมาหมัก จะทำให้ได้สีย้อมผ้าที่เป็นสีของใบสักทองที่แตกต่างกันทุกวัน ไม่เหมือนกันแม้แต่ครั้งเดียว การหมักย้อมจึงให้สีสันที่แตกต่างกันตามคุณสมบัติของใบสักทองที่มีการเปลี่ยนแปลง มีความเป็นเอกลักษรืเฉพาะวัน เดือน ปี เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดล้อม สภาพอากาศ ส่งผลให้เกิดสีสันของการหมักที่แตกต่างกันทุกวัน
26/12/2561 16:05:26
อ่านต่อ...
8 เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ เสื้อผ้าย้อมสีใบสักทอง
(ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า)
สถานีรถไฟแม่พวก หมู่ 5 ต.ห้วยไร่ อ.เด่นชัย จ.แพร่ จะมีพื้นที่ปลูกไม้สักเป็นป่าปลูกหรือสวนป่าไม้สักแห่งแรกของประเทศ โดยทางหมู่บ้านจัดให้เป็นเส้นทางท่องเที่ยวชมดอกกระเจียวและชมสมุนไพรหายาก และป่าสักที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของจังหวัดแพร่ นายน้อย เทียนทอง กล่าวว่า ในพื้นที่แห่งนี้ เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟบ้านแม่พวก ซึ่งเป็นสถานีรถไฟเก่าแก่ มาตั้งแต่ครั้งสมัยราชกาลที่ 5 และในปัจจุบันยังคงมีลักษณะอาคารแบบดั้งเดิม หมู่บ้านแห่งนี้จึงได้บริหารจัดการสถานที่แห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ “สถานีรถไฟแม่พวก” ซึ่งชุมชนมีส่วนร่วมกับการรถไฟร่วมกันอนุรักษ์ไปเป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชน สถานีแห่งนี้เคยเป็นสถานีปลายทางของทางรถไฟสายเหนือ สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 โดยพระพันปีหลวง พระราชินีในรัชกาลที่ 5 ก็เคยเสด็จทอดพระเนตรป่าไม้สักบริเวณนี้ในอดีตที่ผ่านมา ชาวบ้านได้รวบรวมประวัติความเป็นมาและความเป็นอยู่ตามวิถีชุมชนไว้ที่สถานีรถไฟแห่งนี้อย่างน่าสนใจที่สำคัญเป็นสถานที่แห่งเดียวที่เป็ฌนป่าสัก ที่ปลูกแห่งแรกของประเทศไทย จึงมีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ และเป็นที่มาของผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม คือ ผ้าย้อมใบสักทอง ที่ชาวบ้านจะนำใบสักทองที่ร่วมหล้นลงมาจากป่าสักทองอายุกว่า 104 ปีแห่งนี้ มาทำเป็นสีย้อมผ้า ซึ่งความพิเศษคือ การนำใบสักทองที่ร่วงหล่นลงมาจากป้าสักทอง ในแต่ละครั้ง แต่ละวัน เมื่อนำใบสักทองมาหมัก จะทำให้ได้สีย้อมผ้าที่เป็นสีของใบสักทองที่แตกต่างกันทุกวัน ไม่เหมือนกันแม้แต่ครั้งเดียว การหมักย้อมจึงให้สีสันที่แตกต่างกันตามคุณสมบัติของใบสักทองที่มีการเปลี่ยนแปลง มีความเป็นเอกลักษรืเฉพาะวัน เดือน ปี เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดล้อม สภาพอากาศ ส่งผลให้เกิดสีสันของการหมักที่แตกต่างกันทุกวัน
11/09/2561 23:39:21
อ่านต่อ...
9 เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ เสื้อย้อมสีใบสักทอง
(ผ้าและผลิตภัณฑ์จากผ้า)
สถานีรถไฟแม่พวก หมู่ 5 ต.ห้วยไร่ อ.เด่นชัย จ.แพร่ จะมีพื้นที่ปลูกไม้สักเป็นป่าปลูกหรือสวนป่าไม้สักแห่งแรกของประเทศ โดยทางหมู่บ้านจัดให้เป็นเส้นทางท่องเที่ยวชมดอกกระเจียวและชมสมุนไพรหายาก และป่าสักที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของจังหวัดแพร่ นายน้อย เทียนทอง กล่าวว่า ในพื้นที่แห่งนี้ เป็นที่ตั้งของสถานีรถไฟบ้านแม่พวก ซึ่งเป็นสถานีรถไฟเก่าแก่ มาตั้งแต่ครั้งสมัยราชกาลที่ 5 และในปัจจุบันยังคงมีลักษณะอาคารแบบดั้งเดิม หมู่บ้านแห่งนี้จึงได้บริหารจัดการสถานที่แห่งนี้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ “สถานีรถไฟแม่พวก” ซึ่งชุมชนมีส่วนร่วมกับการรถไฟร่วมกันอนุรักษ์ไปเป็นพิพิธภัณฑ์ชุมชน สถานีแห่งนี้เคยเป็นสถานีปลายทางของทางรถไฟสายเหนือ สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 โดยพระพันปีหลวง พระราชินีในรัชกาลที่ 5 ก็เคยเสด็จทอดพระเนตรป่าไม้สักบริเวณนี้ในอดีตที่ผ่านมา ชาวบ้านได้รวบรวมประวัติความเป็นมาและความเป็นอยู่ตามวิถีชุมชนไว้ที่สถานีรถไฟแห่งนี้อย่างน่าสนใจที่สำคัญเป็นสถานที่แห่งเดียวที่เป็ฌนป่าสัก ที่ปลูกแห่งแรกของประเทศไทย จึงมีเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ และเป็นที่มาของผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม คือ ผ้าย้อมใบสักทอง ที่ชาวบ้านจะนำใบสักทองที่ร่วมหล้นลงมาจากป่าสักทองอายุกว่า 104 ปีแห่งนี้ มาทำเป็นสีย้อมผ้า ซึ่งความพิเศษคือ การนำใบสักทองที่ร่วงหล่นลงมาจากป้าสักทอง ในแต่ละครั้ง แต่ละวัน เมื่อนำใบสักทองมาหมัก จะทำให้ได้สีย้อมผ้าที่เป็นสีของใบสักทองที่แตกต่างกันทุกวัน ไม่เหมือนกันแม้แต่ครั้งเดียว การหมักย้อมจึงให้สีสันที่แตกต่างกันตามคุณสมบัติของใบสักทองที่มีการเปลี่ยนแปลง มีความเป็นเอกลักษรืเฉพาะวัน เดือน ปี เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะแวดล้อม สภาพอากาศ ส่งผลให้เกิดสีสันของการหมักที่แตกต่างกันทุกวัน
26/12/2561 16:08:15
อ่านต่อ...
10 เรียนรู้ผลิตภัณฑ์ โคมไฟไม้ไผ่ สูง 70 เซนติเมตร
(ของใช้ตกแต่ง)
ชุมชนวัดพระธาตุขิงแกงเป็นชุมชนที่มีต้นไม้ไผ่ เป็นจำนวนมากจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการนำไม้ไผ่มาเป็นองค์ประกอบทางด้านภูมิปัญญาพื้นบ้าน นำมาสร้างเป็นเครื่องใช้ภายในครัวเรือน ในชุมชนมีตะกร้าใส่ของชิ้นหนึ่งที่เป็นเอกลักษณ์ มีรูปร่างที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชุมชน โดยการคิดของผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชน เป็นลายที่มีมานานนับ 100 ปี ลายตะกร้าที่เรียกว่าลายดาว เคยหายไปจากชุมชนระยะหนึ่ง ต่อมานางจันทร์เป็ง ทวีจันทร์ จึงนำมาถอดลายใหม่ และได้นำมาเผยแพร่ให้กับคนในชุมชน และเยาวชนได้อนุรักษ์ตะกร้าลายดาว ให้เป็นภูมิปัญญาอันล้ำค่านี้ไว้ จนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชนวัดพระธาตุขิงแกง เป็นผลิตภัณฑ์ที่ส่งออกทั้งในและต่างประเทศ
25/03/2562 10:19:57
อ่านต่อ...
«
1
2
3
4
5
6
7
8
...
53
54
»